Asst.Prof.Dr. Thanakorn Damsud
ผศ.ดร.ธนากรณ์ ดำสุด
ตำแหน่ง : อาจารย์
ตำแหน่งทางวิชาการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดคณะ : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หลักสูตร : ชีววิทยาประยุกต์
เบอร์โทร : 075-773-336
อีเมล์ : thanakorn.d@rmutsv.ac.th
Thanakorn Damsud
Present Position : Lecturer
Academic Ranks : Asst.Prof.
Faculty : Science and Technology
Course : Applied Biology
Tel : 075-773-336
E-mail : thanakorn.d@rmutsv.ac.th
การศึกษา : Education
B.Sc. (Public Health) Mahidol University
M.Sc. (Biochemistry) Chulalongkorn University
Ph.D. (Biotechnology) Chulalongkorn University
สาขาที่เชี่ยวชาญ : Exprience
ฺAgricultural and Biological Sciences
Nutrition of Bioactive Compounds
Natural Product
ประสบการณ์การสอน : Teaching Exprience
Lecturer: Applied Biology
Visiting Faculty: Boromarajonani College of Nursing Nakhon Si Thammarat
งานวิจัยที่สนใจ : Search Interests
Natural Product
Functional Food
Nutrition
ผลงานวิจัยหรือสิ่งประดิษฐ์ : Research or Innovation
1. ธนากรณ์ ดำสุด, ฐิติกร จันทร์วุ่น, เขมมิการ์ โขมพัตร และ สุวรรณา ผลใหม่. (2562). การสลายสีเมททิลีนบลูของเม็ดบีทที่ตรึงสารสกัดหยาบใบรางจืด. วารสารวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 5(2): 48-58.
2. ธนากรณ์ ดำสุด, ฐิติกร จันทร์วุ่น, ชฎาภรณ์ สุขกรง และ ฐิติวรดา เทศภูมิ. (2561). การยับยั้งการสร้างแอดวานซ์ไกลเคชันเอนด์โปรดักส์ และแอลฟากลูโคซิเดสของส่วนสกัดยอดมะม่วงหิมพานต์. วารสารวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 4(2): 30-39.
3. ชุติมา แก้วพิบูลย์, พฤทฐิภร ศุภพล, ธนากรณ์ ดำสุด และ ณวงศ์ บุนนาค. (2561). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ไลเพส อะไมเลส และแอลฟา-กลูโคซิเดส ของพืชสมุนไพรไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 27(3): 435-444.
4. วรรณนิสา บุญไหว, ณวงศ์ บุนนาค, ธนากรณ์ ดำสุด, พฤทฐิภร ศุภพล และ ชุติมา แก้วพิบูลย์. (2560). ฤทธิ์ยับยั้งแอลฟา-อะไมเลส และกลูโคซิเดสของสารกลุ่มลิกแนน แยกจากน้ำมันงาที่ปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมี โดยเชื้อราเอนโดไฟต์. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 27 : 507-513.
5. ธนากรณ์ ดำสุด และ ฐิติกร จันทร์วุ่น. (2560). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และยับยั้งการทำงานแอลฟากลูโคซิเดสจากขนุนอ่อน. วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 45(3): 543-550.
6. ธนากรณ์ ดำสุด และ ชุติมา แก้วพิบูลย์. (2559). ฤทธิ์ในการยับยั้งแอลฟากลูโคซิเดสของส่วนสกัดจากผักสลัดน้ำ. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 11(2): 65 –74.
7. Damsud T., Penprapai P., Rongsawat PR. (2020). Effect of in vitro anti-diabetic activity of Cassia siamea flowers and leaves extract. The Journal of Chulabhorn Royal Academy (1):36-49.
8. Kaewboonma. N., Puttarak P., Chansanam W., Damsud T., (2020). Semantic Knowledge Management for Herbal Medicines Used in Primary Health Care. Test Engineering and Management (81):666-671.
9. Rucksakaew, K., Damsud, T., Chankaew, W. (2020). Flavonoid effects of water extraction on total flavonoid content and biological activities between natural and cultured Wolffia globosa (Roxb.) Hartog & Plas. Princess of Naradhiwas University Journal, 12(1): 185-193.
10. Dumsud, T., Chanwun T., Kaewpiboon C. (2017). Antidiabetic agents with α-glucosidase inhibition and antioxidant capacity from the shoots of Clausena cambodiana Guill. International Journal of Agricultural Technology. 13: 449-456.
11. Damsud, T., Songsang S., Srimek N. (2016). Antioxidant and a-glucosidase inhibitory activities from shoots of Clausena cambodiana Guill. Pure and Applied Chemistry International Conference 2016, pp. 1124-1127.
12. Esposito, D., Damsud, T., Wilson, M., Grace, MH., Strauch, R., Li, X., Komarnytsky, S. (2015). Black Currant Anthocyanins attenuate weight gain and improve glucose metabolism in diet-induced obese mice with intact, but not disrupted, gut microbiome. Journal of Agricultural and Food Chemistry. 63(27): 6172-6180.
ตำรา หนังสือ : Text book
เอนไซม์วิทยา
ประสบการณ์การทำงาน : Work Experience
หัวหน้าหน่วยวิจัย : นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ